coalmedicallogistics.com

งบดุล หมาย ถึง อะไร

งบของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์นั้น เวลาเค้าประกาศงบ จะให้มาทั้งหมด 5 อย่าง และ 1 ของแถม อะไรคือของแถมวะนี่? งบการเงินไม่ได้มีแค่งบดุล หรืองบกำไรขาดทุน ยังมีอีก 3 งบประกอบกัน ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กัน ในบทความนี้จะอธิบายจุดประสงค์แต่ละงบอย่างง่ายๆ ก่อนนะครับ 1. งบดุล หรือในชื่อใหม่ว่า งบแสดงฐานะการเงิน (เปลี่ยนชื่อให้ดูดีขึ้น 55) ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าแสดงฐานะของกิจการว่ามั่งคั่งแค่ไหน ถ้าเคยท่องสมการบัญชีมา ก็เป็น สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน (ส่วนของเจ้าของ) ต้องเท่ากัน (ดุลกัน) เค้าเลยเรียกว่างบดุล สิ่งที่จะดูหลักๆ คือ มีสินทรัพย์เท่าไหร่ ประกอบมาจากหนี้สินเท่าไหร่ ทุนจากเจ้าของเองเท่าไหร่ โดยเบื้องต้นเท่านี้ก่อนนะครับเพราะเรื่องยาวมาก 2. งบกำไรขาดทุน บอกให้ทราบถึงผลการดำเนินงานว่ามี รายได้ มากกว่า ค่าใช้จ่ายเท่าไหร่ ก็จะเหลือเป็นกำไร ถ้าน้อยกว่าก็ขาดทุน ซึ่งจะบอกด้วยว่า ค่าใช้จ่ายที่เป็นต้นทุนเท่าไหร่ เป็นค่าใช้จ่ายการบริหารเท่าไหร่ ดอกเบี้ย ภาษี สุดท้ายแล้วเหลือกำไร และ EPS เท่าไหร่ 3. งบกระแสเงินสด จุดประสงค์บอกถึงแหล่งที่มาและใช้ไปในกิจกรรมต่างๆ ของกิจการ มีทั้งหมด 3 กิจกรรมดังต่อไปนี้ กิจกรรมดำเนินงาน (จะสัมพันธ์กับงบกำไรขาดทุน) แต่เราจะดูเงินสดจริงๆ ที่รับเข้า จ่ายออกเท่านั้น กิจกรรมลงทุน ดูว่ากิจการนำเม็ดเงินไปลงทุนอะไรบ้าง หรือขายสินทรัพย์ที่เคยลงทุนไว้ได้เงินเท่าไหร่เข้ามา กิจกรรมการจัดหา การจัดหาเงินของกิจการ ก็มาจาก 2 แหล่งหลัก ๆ คือ จากการกู้ (เป็นหนี้) และ จากส่วนของเจ้าของเอง (ทุน) ทำให้ทราบว่าเงินที่จัดหามานั้นมาจากแหล่งใด สามารถประเมินความเสี่ยงของบริษัทได้ รวมทั้งเงินปันผลที่จ่ายออกไปยังผู้ถือหุ้นด้วย 4.

รู้หรือไม่งบการเงินนั้นประกอบด้วย 5 อย่าง - Mr.LikeStock

  • Nirvana at work รามอินทรา
  • ถังเก็บน้ํา เชียงใหม่
  • เสื้อ ขาว ล้วน
  • งบดุล หมาย ถึง อะไร ดี
  • งบกําไรขาดทุนมีอะไรบ้าง | โปรซอฟท์ คอมเทค
  • งบดุล หมาย ถึง อะไร 2565
งบดุล หมาย ถึง อะไร 2564

คราวหน้ามาไล่ดูกันว่า สินทรัพย์ กับ หนี้สิน โดยทั่วๆไปแล้ว มีอะไรบ้าง บางคนอาจจะมี/ไม่มี รู้จักหรืออาจจะเพิ่งเคยได้ยินว่ามันมีสินทรัพย์แบบนี้ด้วยเหรอ ปล. หากดีและมีประโยชน์ แชร์ได้เราไม่หวง กดปุ่มปรบมือก็ได้ จะได้รู้ว่าที่ทำอยู่มันดีและมีประโยชน์กับผู้อื่นจริงๆ ( รึป๊าววว? ) ^_^

งบการเงินไม่ได้มีแค่งบดุล หรืองบกำไรขาดทุน ยังมีอีก 3 งบประกอบกัน ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กัน ในบทความนี้จะอธิบายจุดประสงค์แต่ละงบอย่างง่ายๆ 1. งบดุล หรือในชื่อใหม่ว่า งบแสดงฐานะการเงิน (เปลี่ยนชื่อให้ดูดีขึ้น 55) ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าแสดงฐานะของกิจการว่ามั่งคั่งแค่ไหน ถ้าเคยท่องสมการบัญชีมา ก็เป็น สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน (ส่วนของเจ้าของ) ต้องเท่ากัน (ดุลกัน) เค้าเลยเรียกว่างบดุล สิ่งที่จะดูหลักๆ คือ มีสินทรัพย์เท่าไหร่ ประกอบมาจากหนี้สินเท่าไหร่ ทุนจากเจ้าของเองเท่าไหร่ โดยเบื้องต้นเท่านี้ก่อนนะครับเพราะเรื่องยาวมาก 2. งบกำไรขาดทุน บอกให้ทราบถึงผลการดำเนินงานว่ามี รายได้ มากกว่า ค่าใช้จ่ายเท่าไหร่ ก็จะเหลือเป็นกำไร ถ้าน้อยกว่าก็ขาดทุน ซึ่งจะบอกด้วยว่า ค่าใช้จ่ายที่เป็นต้นทุนเท่าไหร่ เป็นค่าใช้จ่ายการบริหารเท่าไหร่ ดอกเบี้ย ภาษี สุดท้ายแล้วเหลือกำไร และ EPS เท่าไหร่ 3. งบกระแสเงินสด จุดประสงค์บอกถึงแหล่งที่มาและใช้ไปในกิจกรรมต่างๆ ของกิจการ มีทั้งหมด 3 กิจกรรมดังต่อไปนี้ กิจกรรมดำเนินงาน (จะสัมพันธ์กับงบกำไรขาดทุน) แต่เราจะดูเงินสดจริงๆ ที่รับเข้า จ่ายออกเท่านั้น กิจกรรมลงทุน ดูว่ากิจการนำเม็ดเงินไปลงทุนอะไรบ้าง หรือขายสินทรัพย์ที่เคยลงทุนไว้ได้เงินเท่าไหร่เข้ามา กิจกรรมการจัดหา การจัดหาเงินของกิจการ ก็มาจาก 2 แหล่งหลัก ๆ คือ จากการกู้ (เป็นหนี้) และ จากส่วนของเจ้าของเอง (ทุน) ทำให้ทราบว่าเงินที่จัดหามานั้นมาจากแหล่งใด สามารถประเมินความเสี่ยงของบริษัทได้ รวมทั้งเงินปันผลที่จ่ายออกไปยังผู้ถือหุ้นด้วย 4.

ดุลการค้า เกินดุล และ ขาดดุล คืออะไร? (Trade Balance) - GreedisGoods GreedisGoods มีการเก็บ Cookies เพื่อมอบประสบการณ์ใช้งานที่ดียิ่งขึ้น หากท่านใช้เว็บไซต์ต่อไปโดยไม่ปรับตั้งค่าเราเข้าใจว่าท่านยินยอมที่จะรับคุกกี้ ยินยอม ดูรายละเอียด

งบแสดงฐานะทางการเงิน เป็นส่วนที่บอกฐานะการเงินของธุรกิจ ณ เวลานั้น เพื่อจะได้รู้ว่าบริษัทมีความมั่นคง และมีความแข็งแกร่งทางธุรกิจขนาดไหน โดยมีส่วนที่ควรให้ความสนใจ คือ คุณภาพสินทรัพย์, สภาพคล่องกิจการ, ความมั่นคงของกิจการ ดูจากอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (D/E) และกำไรสะสม 2. งบกำไรขาดทุน อยากรู้ว่าบริษัทมีความสามารถทำกำไรหรือไม่ ให้ดูงบกำไรขาดทุน ซึ่งควรดูทั้ง Top Line หรือ "รายได้" บรรทัดแรก และ Bottom Line หรือ "กำไรสุทธิ" บรรทัดสุดท้าย 3. งบกระแสเงินสด เป็นสิ่งที่ตอบได้ว่าธุรกิจนี้มีความมั่นคงแค่ไหน ด้วยการดูที่มาที่ไปของกระแสเงินสด ซึ่งแบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ กระแสเงินสดสุทธิจากการดำเนินงาน, กระแสเงินสดสุทธิจากการลงทุน และกระแสเงินสดสุทธิจากการจัดหาเงิน 4. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น เป็นส่วนที่แสดงการเปลี่ยนแปลงทุน ระหว่างต้นงวด จนถึงปลายงวด เช่น กำไร ขาดทุน เพิ่มทุน จ่ายปันผล ทำให้ทราบการเคลื่อนไหวของบริษัทที่ชัดเจนมากขึ้น 5. หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบการเงินที่สมบูรณ์ต้องมาพร้อมกับ หมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งเป็นการอธิบายอย่างละเอียดว่าแต่ละบรรทัดมีการคำนวณอย่างไร ภายใต้สมมติฐานอะไร ซึ่งแสดงถึงความโปร่งใสของการทำธุรกิจ สรุปแล้ว "งบการเงิน" ถือเป็นการสะท้อนผลงานของบริษัทได้ดีและชัดเจนที่สุด ดังนั้น ก่อนลงทุนหุ้นตัวใด นักลงทุนควรรู้รายละเอียดจากงบการเงินให้ถูกต้อง ครบถ้วน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น การพิจารณางบการเงินก็มีความแตกต่างกันไปในรายละเอียดของแต่ละอุตสาหกรรม เช่น กลุ่มการเงินก็เป็นกลุ่มที่จะมีหนี้สินมากกว่ากลุ่มอื่นๆ เป็นปกติ เป็นต้น เพราะฉะนั้น อย่าลืมนำปัจจัยอื่นๆ มาพิจารณาให้รอบด้านก่อนประกอบการตัดสินใจด้วย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น งบนี้เชื่อว่าหลายๆ ท่านไม่ค่อยได้ดู แต่จริงๆ แล้วดูไม่ยาก งบนี้จะเกี่ยวกับเรื่องของทุน คือในรอบปีที่ผ่านมา ทุนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง สิ่งที่ทำให้ทุนเพิ่มขึ้น ก็เช่น มีกำไร เพิ่มทุน และสิ่งที่ทำให้ทุนลดลงก็เช่น ขาดทุน จ่ายปันผล ซึ่งจะสรุปไว้ให้ดูในงบนี้ สะดวกต่อการดูมากๆ ใช้ในการเช็คได้ว่าปีที่ผ่านบริษัทมีการเพิ่มทุนอะไรหรือไม่ 5.

งบการเงิน คือ รายงานทางการเงินและบัญชีที่มีแบบแผน เพื่อแสดงฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดของกิจการในแต่ละงวดบัญชี 🟠โดยงบการเงินของกิจการประกอบด้วย 5 ส่วน คือ 1. งบแสดงฐานะทางการเงิน หรือ งบดุล ◾️งบการเงินที่แสดงข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินของกิจการ เพื่อให้ทราบว่ากิจการมีฐานะทางการเงินเป็นอย่างไร มีสินทรัพย์ หนี้สิน และทุน เท่าไหร่ (สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน) 2. งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ หรือ งบกำไรขาดทุน ◾️งบการเงินที่แสดงถึงผลการดำเนินงานของกิจการว่ามีรายได้และค่าใช้จ่ายเป็นเท่าไหร่ สำหรับรอบระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง 3. งบกระแสเงินสด ◾️งบการเงินที่แสดงถึงการได้มาและการใช้ไปของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดในรอบระยะเวลาหนึ่ง มี 3 กิจกรรม คือ 3. 1 กิจกรรมดำเนินงาน 3. 2 กิจกรรมลงทุน 3. 3 กิจกรรมจัดหาเงิน 4. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของเจ้าของ ◾️งบการเงินที่แสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของกิจการในช่วงระยะเวลาหนึ่ง 5.